ภาษาเหนือภาษาถิ่นที่สวยงามและน่ารักเหมือนคนเหนือเอง
วันนี้เชียงราย108 พาไปรู้จักภาษาเหนือกัน ซึ่งภาษาเหนือเป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้ในภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งถือเป็นภาษาที่สวยงามและน่ารัก มีอักษรเสียงที่เป็นเอกลักษณ์และเป็นเครื่องแสดงถึงวัฒนธรรม ลักษณะความเป็นอยู่ และวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นของแต่ละภาค ในท้องถิ่นของแต่ละที่เป็นไปได้อย่างดี ภาษาถิ่นเป็นภาษาย่อยที่ใช้ในบางจังหวัดของภาคเหนือตอนบน หรือภาษาในอาณาจักรล้านนาเดิม มักจะพูดกันมากในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา ลำปาง น่าน ลำพูน ตาก แพร่ เป็นต้น ในครั้งนี้ เราจะรวบรวมคำศัพท์ภาษาเหนือที่เราฟังบ่อยๆ มาฝากเพื่อนๆ กัน จะได้รู้จักและใช้ได้สบายๆ
คำศัพท์ภาษาเหนือ
- กาสะลอง = ดอกปีป ที่มีลักษณะสีขาว กลิ่นหอม
- ซ้องปีบ = ดอกปีบที่นำมาประดับผม
- เอาแต่ใจ๋ตั๋วเก่า = เอาแต่ใจ
- เพื่อนขี้วอกขี้จุ๊ = พี่นั้นแหละที่โกหก โกหกยังไงก็ฟังไม่ขึ้น
- สลิดดก = ระริกระรี้
- แฮ่นป้อจาย = หิวผู้ชาย
- หัน = เห็น
- หื่อ = ให้
- ท่า = คอย
- ผ่อ = มอง, ดู
- บ่ = ไม่
- ยะ = ทำ
- ขี้จุ๊ = โกหก
- ไค้หัน = อยากเห็น
- โตย = ด้วย
- จะอั้น = อย่างนั้น
- จะไปพั่ง = อย่ารีบ
- จะได = อย่างไร
- วันศีล = วันพระ
- ลำ = อร่อย
- แลงนี้ = เย็นนี้
- ฮ้อง = เรียก
- ติ้ว = หิ้ว
- ใจ๋ขึ้น = อารมณ์เสีย
- โขด = โกรธ
- อะหยัง = อะไร
- เฮือน = บ้าน
- โฮงยา = โรงพยาบาล
- วอก = โกหก,ตอแหล
- ฮากแตก = อ้วกแตก
- ขอย = อิจฉา
คำนามและสรรพนามในภาษาเหนือ
- เธอ = ตั๋ว(สุภาพ) , คิง (ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเพื่อนผู้ชาย)
- ฉัน = เปิ้น (สุภาพ) , ฮา (ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเพื่อนผู้ชาย)
- เขา (สรรพนามบุรุษที่ 3) = เปิ้น
- ผู้ชาย = ป้อจาย
- ผู้หญิง = แม่ญิง
- พวกเขา = หมู่เขา
- พวกเธอ = สูเขา (สุภาพ), คิงเขา (ไม่ค่อยสุภาพส่วนใหญ่ใชักับเพื่อนผู้ชาย)
- พวกเรา = หมู่เฮา, เฮาเขา
- พ่อ = ป้อ
- พี่ชาย = อ้าย,ปี่
- ปู่ย่าตายาย ลุงป้าน้าอา = อุ้ย (เช่น แม่อุ้ย ป้ออุ้ย)
- พี่สาว = ปี่
- ปฏิทิน = ปั๊กกะตืน
- คำเมืองแท้ๆจะแปลว่าปฏิทิน
- โรงเรียน = โฮงเฮียน
- ร้านค้า = ร้านก้า
- กระท้อน = บะตึ๋น
- ตะไคร้ = ชะไคร
- มะแว้ง = บะแขว้งขม
- มะเขือพวง = บะแขว้ง /บ่ะแขว้งกุลา
- ผักตำลึง = ผักแคบ
- ใบปูนา ปูลิง ลูกยอ = หม่ะต๋าเสือ
- คึ่นช่าย = ผักกะพึน,กำพึน (กะปึน)
คำกริยาในภาษาเหนือ
- กิน = กิ๋น
- กำปั้น หมัด = ลูกกุย
- ก่าย = ปาด
- อิง กางร่ม = กางจ้อง
- โกหก = วอก
- ขี้จุ๊ โกรธ = โขด
- กลับ = ปิ๊ก
- ขี้เหนียว = ขี้จิ๊
- ขโมย = ขี้ลัก
- ขี่หลังคน (เกาะ) = เก๊าะ
- เครียด = เกี้ยด
- คิด = กึ๊ด
- เจ็บ = เจ๊บ
- จริง = แต๊
- ใช้ = ใจ๊
- ดู = ผ่อ
- ตกบันได = ตกคันได
- ทำ = ยะ
- เที่ยว = แอ่ว
- นั่งขัดสมาธิ = นั่งขดขวาย
- นั่งพับเพียบ = นั่งป้อหละแหม้
- นั่งไขว่ห้างเอาเท้าข้างหนึ่งพาดบนเข่า = นั่งปกขาก่ายง้อน
- นั่งยอง ๆ = นั่งข่องเหยาะ,หย่องเหยาะ
- นั่งลงไปเต็มที่ตามสบาย (โดยไม่กลัวเปื้อน) = นั่งเป้อหละเหม้อ, นั่งเหม้อ
- นั่งวางเฉย นั่งหัวโด่ = นั่งคกงก(ก๊กงก)
สรุป
ภาษาเหนือเป็นภาษาที่สวยงามและน่ารัก เป็นภาษาถิ่นที่ใช้ในภาคเหนือของประเทศไทย มีคำศัพท์ที่น่าสนใจและเป็นเอกลักษณ์ เช่น กาสะลอง, ซ้องปีบ, เอาแต่ใจ๋ตั๋วเก่า, สลิดดก, แฮ่นป้อจาย และอีกมากมาย นอกจากนี้ยังมีคำนามและสรรพนามที่น่ารู้จัก เช่น เธอ, ฉัน, เขา, ผู้ชาย, ผู้หญิง, พวกเขา, พวกเธอ, พวกเรา, พ่อ, พี่ชาย, ปู่ย่าตายาย ลุงป้าน้าอา, พี่สาว, และอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีคำกริยาที่น่าสนใจ เช่น กิน, กำปั้น, หมัด, ก่าย, อิง, กางร่ม, โกหก, ขี้จุ๊, กลับ, ขี้เหนียว, ขโมย, ขี่หลังคน, เครียด, คิด, เจ็บ, จริง, ใช้, ดู, ตกบันได, ทำ, เที่ยว, นั่งขัดสมาธิ, นั่งพับเพียบ, นั่งไขว่ห้างเอาเท้าข้างหนึ่งพาดบนเข่า, นั่งยอง ๆ, นั่งลงไปเต็มที่ตามสบาย (โดยไม่กลัวเปื้อน) ซึ่งคำศัพท์เหล่านี้เป็นคำศัพท์ที่น่าสนใจและเป็นเอกลักษณ์ของภาษาเหนือ